ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (Peter M. senge’s)

ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู้

1. u ปิรามิดแห่งความรู้ ของ Yamazaki u ภูเขาน้าแข็งแห่งความรู้ ของ Nonaka u การจัดการความรู้โดยใช้ปลาทูโมเดล (Tuna Model) ของ ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด u KM Model : สคส u KM- Process : กพร. u SECI Model u ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (Peter M. Senge’s) u ทฤษฎีการ์วิน (Garvin) u ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ มาควอส (Marquardt)
2. ปิ รามิดแห่งความรู้ ของ YAMAZAKI · ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริง เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ได้ จากการสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น โดย ยังไม่ผ่านกระบวนการ การ วิเคราะห์ (ด้วยกลวิธีทางสถิติ) จึงเป็นข้อมูลดิบ · สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการ วิเคราะห์แล้ว เพื่อนามาใช้ ประโยชน์เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่อง หนึ่ง · ความรู้ (Knowledge) คือ สารสนเทศ ที่ผ่านกระบวนการคิดเปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรู้อื่น จนเกิดเป็น ความเข้าใจ สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้ · ภูมิปัญญา (Wisdom) คือ การประยุกต์ใช้ ความรู้เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการทางาน บางท่านจึงเรียกภูมิปัญญาว่า ปัญญาปฏิบัติ
3. ภูเขาน้าแข็งแห่งความรู้ ของ NONAKA Explicit Knowledge เป็นความรู้ที่เปิดเผย ชัดแจ้ง เด่นชัดเป็น ความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเหตุเป็นผล สามารถรวบรวมถ่ายทอด ออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น เอกสารหรือวิชาการ อยู่ในตารา คู่มือ ปฏิบัติงานหนังสือ รายงานต่างๆ ฯลฯ ซึ่งทาให้คนสามารถเข้าถึงได้ง่าย Tacit Knowledge เป็นความรู้ที่ฝังลึกแฝงอยู่ในตัวของแต่ละ บุคคล เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้เป็นภูมิปัญญา หรือพรสวรรค์ ต่างๆซึ่งเป็นความรู้ที่สื่อสารหรือถ่ายทอดด้วยลายลักษณ์อักษรได้ยาก แต่สามารถแบ่งปันกันได้จากภาพภูเขาน้าแข็งจะเห็นได้ว่าส่วนยอดของ ภูเขาน้าแข็งที่ลอยอยู่เหนือน้า เปรียบได้กับ Explicit Knowledge ที่เป็น ความรู้ชัดแจ้ง ปรากฏในเอกสารตาราทางวิชาการ มีสัดส่วนน้อยกว่า ส่วนที่อยู่ใต้น้า คือ Tacit Knowledge ที่เป็นความรู้ฝังลึกในตัวคนที่เกิด จากประสบการณ์ เป็นภูมิปัญญาที่มีอยู่ถึง 80%
4. ในชีวิตจริง ความรู้ 2 ประเภทนี้จะเปลี่ยนสถานภาพ สลับปรับเปลี่ยนไปตลอดเวลาเป็นลักษณะเกลียวคลื่นความรู้ (Knowledge Spiral) บางครั้ง Tacit Knowledge ก็ออกมาเป็น Explicit Knowledge และบางครั้ง Explicit Knowledge ก็ เปลี่ยนไปเป็น Tacit Knowledge ทาให้เกิดการงอกงามของความรู้ กลายเป็นองค์ความรู้ใหม่ การเกิดความรู้เป็นกระบวนการที่ หมุนเวียน หรือกระแสการจัดการความรู้ที่เคลื่อนได้ ตามกระบวนการ SECI Model
5. การจัดการความรู้โดยใช้ปลาทูโมเดล (TUNA MODEL) ของ ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด
6. 1.ส่วนหัวปลา (KNOWLEDGE VISION : KV) ส่วนที่เป็นเป้าหมาย คือเป้าหมาย วิสัยทัศน์หรือทิศทางของการจัดการ ความรู้ มองหาเส้นทางที่เดินทางไป แล้วคิดวิเคราะห์ว่า จุดหมายอยู่ที่ไหน ต้องว่ายแบบใดไปในเส้นทางไหน และไปอย่างไร ในที่นี้เราจะเปรียบเป็น การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) ก่อนที่เราจะ ทางานอะไรซักอย่างเราต้องรู้ก่อนว่าเราต้องการอะไร จุดหมายคืออะไร และต้องทา อย่างไรบ้าง ต้องสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์กร ความเป็นจริงของการจัดการความรู้ ไม่ใช่เป้าหมาย แต่เป็นกระบวนการหรือกลยุทธ์ที่ทาให้งานบรรลุผลตามที่ต้องการโดย ใช้ความรู้เป็นฐานหรือเป็นปัจจัยให้งานสาเร็จ อาทิเช่น · การจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาสมรรถนะสู่ความเป็นเลิศ · การจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพให้ได้รับการรองรับมาตรฐาน · การจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารงาน โดยที่ส่วนหัวปลา จะต้องเป็นของผู้ดาเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ทั้งหมด หรือ “คุณกิจ” โดยมี “คุณเอื้อ” และ “คุณอานวย” คอยช่วยเหลือ การจัดการความรู้โดยใช้ปลาทูโมเดล (TUNA MODEL) ของ ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด (ต่อ)
7. 2.ส่วนกลางลาตัว (KNOWLEDGE SHARING : KS) การจัดการความรู้โดยใช้ปลาทูโมเดล (TUNA MODEL) ของ ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด (ต่อ) เป็นส่วนกิจกรรม คือ ส่วนลาตัวที่มีหัวใจของปลาอยู่ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายในที่นี้เราจะเปรียบเป็น การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้ (KnowledgeSharing) คือเราจาเป็นต้องสร้างบรรยากาศที่เกิดการเรียนรู้เพื่อให้คนเข้ามาแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกันจัดเป็น ส่วนสาคัญที่สุด และยากที่สุดในกระบวนการจัดการความรู้ ในกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่แนบแน่นอยู่กับการทางานนี้ เรา แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันสภาพจิตทั้ง 3 ระดับ คือ ระดับมีสติรู้สานึกระดับจิตใต้ สานึก และระดับจิตเหนือสานึกอย่างซับซ้อน โดยที่จิตของสมาชิกทุกคนมี อิสระในการคิด การตีความตามพื้นฐานของตน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้นี้ อาศัยพลังความแตกต่างของสมาชิกโดยมีจุดร่วมอยู่ที่การบรรลุ “หัวปลา” ของการจัดการความรู้ และ “หัวปลา” ขององค์กร
8. 3.ส่วนที่เป็ นหางปลา (KNOWLEDGE ASSETS : KA) การจัดการความรู้โดยใช้ปลาทูโมเดล (TUNA MODEL) ของ ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด (ต่อ) เป็นส่วนการจดบันทึก คือ องค์ความรู้ที่องค์กรได้เก็บสะสมไว้ เป็นคลังความรู้หรือขุมความรู้ ซึ่งมาจาก 2 ส่วนคือ · ความรู้ที่ชัดแจ้งหรือความรู้เปิดเผย (Eplicit Knowledge) คือ ความรู้เชิงทฤษฎีที่ปรากฏให้ เห็นชัดเจนอย่างเป็นรูปธรรม เช่น เอกสาร ตารา และคู่มือปฏิบัติงาน เป็นต้น · ความรู้ซ่อนเร้นหรือความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) คือ ความรู้ที่มีอยู่ในตัวคน ไม่ ปรากฏชัดเจนเป็นรูปธรรม แต่เป็นสิ่งที่มีคุณค่ามาก เมื่อบุคคลออกจากองค์กรไปแล้ว และความรู้นั้นยังคงอยู่กับองค์กร ไม่สูญหายไปพร้อมกับตัวบุคคล การจัดการความรู้ในส่วนนี้เป็นส่วนที่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการจัดเก็บ จัดหมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการเข้าถึงและปรับปรุงความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอ (Update) ช่วยทา หน้าที่เป็นพื้นที่เสมือน (Virtual Space) ให้คนที่อยู่ไกลกันสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share and Learn) ได้อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น บุคคลที่เป็นผู้สกัดแก่นความรู้ คือ “คุณกิจ” โดยมี “คุณ ลิขิต” เป็นผู้ช่วยจดบันทึก โดยที่ในบางกรณี “ คุณลิขิต” ก็ช่วยตีความด้วย
9. สรุป ส่วนที่สาม ส่วนสะสม (Knowledge Asset) 1. รวบรวมความรู้เข้าคลัง (Collection) 2. จัดการความรู้ (Management) 3. ประเมินความรู้ (Evaluation) 4. เผยแพร่ความรู้ (Sharing) ตัวแบบทูน่า (Tuna model) โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด (2550: 21-26) เป็นตัวแบบหนึ่งของการ จัดการความรู้ ที่นามาประยุกต์ และเพิ่มระบบย่อยเข้าไปในแต่ละส่วน ให้เป็นตัวแบบที่ใช้อธิบาย“การ พัฒนาการบูรณาการระบบสารสนเทศบุคลากร โดยใช้ตัวแบบทูน่า”ซึ่งตัวแบบกาหนดเป็น 3 ส่วน ส่วนแรก ส่วนกาหนดทิศทาง (Knowledge Vision) 1. วิสัยทัศน์/นโยบาย (Vision) 2. ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ INDICATOR) 3. แผนปฏิบัติการ (Plan) 4. จัดสรรทรัพยากร (Resource) ส่วนที่สอง ส่วนแลกเปลี่ยน และแบ่งปัน (Knowledge Sharing) 1. กลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Group Discussion) 2. วิเคราะห์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง (Analysis) 3. ฝึกใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้อง (Practice) 4. สังเคราะห์ แล้วแบ่งปัน (Synthesis) การจัดการความรู้โดยใช้ปลาทูโมเดล (TUNA MODEL) ของ ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด (ต่อ)
10. KM MODEL : สคส ตามแนวคิดของ สคส. (วิจารณ์ พานิช) การจัดการความรู้ (สคส) คือ เครื่องมือโดย มีเป้าหมายอยู่ที่งาน คน และองค์กร เป็น เงื่อนไขสาคัญ ไปสู่การเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ สคส. สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1. Explicit Knowledge 2. Tacit Knowledge
11. KM- PROCESS : กพร. การจัดการความรู้ (กพร.) คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มา พัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถแบ่งกระบวนการจัดการความรู้ได้ 7 กระบวนการ
12. SECI MODEL SECI Model - เป็นการสร้างองค์ความรู้ด้วยการขยายผลจากชนิดความรู้คือ ความรู้ที่อยู่ใน สมองของคน(TacitKnowledge) กับความรู้ที่ได้จากสื่อภายนอก(ExplicitKnowledge)โมเดล ดังกล่าวมีชื่อว่า “SECI- KnowledgeConversion Process” ซึ่งมีกระบวนการดังนี้
13. ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (PETER M. SENGE’S) Peter M. Senge’s ได้เสนอแนวคิดของการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ที่เรียกว่า The five disciplines (วินัย 5 ประการ) ซึ่งเป็นแนวคิดสาคัญ 5 ประการที่จะผลักดันและสนับสนุนให้เกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ จะมุ่งเน้นไปที่คนเพราะ Peter M.Senge’s มีความคิดว่าการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้จะต้องเริ่มการพัฒนาคนก่อน คาว่า “วินัย (Disciplines)” หมายถึง เทคนิควิธีที่ต้องศึกษาใคร่ครวญอยู่เสมอแล้วนามาปฏิบัติ เป็นแนวทางการพัฒนา เพื่อการแสวงหาการเสริมสร้างทักษะ หรือสมรรถนะ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถผ่านการปฏิบัติ เพื่อความคิดสร้างสรรค์เพื่อ สิ่งใหม่ ๆ วินัย 5 ประการ ประกอบด้วย วินัยประการที่ 1: ความรอบรู้แห่งตน (Personal Mastery)วินัยประการที่ 2: แบบแผนความคิดอ่าน (Mental Models) วินัยประการที่ 3: วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision)วินัยประการที่ 4: การเรียนรู้ของทีม (Team Learning)วินัยประการที่ 5: การคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking)
14. วินัยประการที่1: ความรอบรู้แห่งตน (PERSONAL MASTERY) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (PETER M. SENGE’S) การเรียนรู้ขององค์การจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ บุคคลมีการเรียนรู้เท่านั้นการฝึกฝนอบรมตนด้วยการ เรียนรู้อยู่เสมอเป็นรากฐานสาคัญเป็นการขยายขีด ความสามารถให้เชี่ยวชาญมากขึ้นความรอบรู้เป็นผล ร่วมของทักษะและความสามารถ เป็นสภาพที่เป็นอยู่ ตามความเป็นจริงเห็นว่าอะไรมีความสาคัญต่อเราต่อ องค์การ ขณะเดียวกันก็เห็นภาพในอนาคต (Vision) ที่พึงเป็นได้
15. วินัยประการที่ 2: แบบแผนความคิดอ่าน (MENTAL MODELS) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (PETER M. SENGE’S) แผนความคิดอ่าน ได้แก่ ข้อตกลงเบื้องต้น ความเชื่อพื้นฐาน ข้อสรุปหรือภาพลักษณ์ที่ตกผลึกใน ความคิดอ่านของคนที่มีอิทธิพลต่อความรู้ความเข้าใจ ต่อสรรพสิ่งในโลก มีผลต่อการประพฤติปฏิบัติ ต่อ ค่านิยม เจตคติที่เขามีต่อบุคคล สรรพสิ่งและ สถานการณ์ทั้งหลาย หน้าที่ของวินัยประการที่ 2 ก็ เพื่อฝึกฝนให้เราได้เข้าใจ แยกแยะระหว่างสิ่งที่เราเชื่อ กับสิ่งที่เราปฏิบัติ การสืบค้นความคิดความเชื่อของ เราทาให้เราท้าทายและปรับขยายขอบเขตและ กระบวนการความคิดความเชื่อของเรา เข้าใจมุมมอง และการคิดของผู้อื่น
16. วินัยประการที่ 3: วิสัยทัศน์ร่วม (SHARED VISION) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (PETER M. SENGE’S) วิสัยทัศน์หรือภาพในอนาคตที่ปรารถนาให้เกิด มีขึ้นในองค์การนั้นเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อภาวะผู้นาทุก คน เป็นพลังขับเคลื่อนในภารกิจทุกอย่างของ องค์การให้มุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน เป็นจุดร่วมและ พลังของการเรียนรู้ของสมาชิกในองค์การ ผู้นาต้อง พัฒนาวิสัยทัศน์เฉพาะตน (personal vision) ขึ้นมา ก่อนจากคุณค่าส่วนบุคคล ความห่วงใย ให้ ความสาคัญกับสิ่งใด จากการคิดได้ คิดเป็น จากนั้น ก็ขายฝัน คิดดัง ๆ แบ่งปันให้ผู้อื่นได้รู้ เข้าใจ เห็น คล้อยตามด้วยการสื่อสาร โน้มน้าวหรือดังที่เรียกกัน ว่า “walk the talk”ทาให้คาพูดหรือภาพนั้นเดินได้ กลายเป็นวิสัยทัศน์ร่วม (sharedvision) ที่มีการ แบ่งปันกับผู้ที่เกี่ยวข้องในทุกระดับของ
17. วินัยประการที่ 4: การเรียนรู้ของทีม (TEAM LEARNING) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (PETER M. SENGE’S) เราจะทาอย่างไรให้ระดับความสามารถของทีม เหนือกว่าระดับความสามารถของรายบุคคลในทีม ทีมสามารถพัฒนาขีดความสามารถประสานสัมพันธ์ กันได้เป็นอย่างดี แนววิธีฝึกฝนสร้างการเรียนรู้ของ ทีมที่ดีและคุ้มค่านั้น Senge เห็นว่า ทาได้โดยผ่านการ พูดคุย (dialogue) และการอภิปราย (discussion) ของ ผู้คนในองค์การ ทีมในองค์การที่ขาดการปรับทิศทาง ทาความเข้าใจระหว่างกันก่อนจะมีพลังงานที่สูญเสีย มากมาย ขาดทิศทางร่วมกัน ขาดการประสาน สัมพันธ์ที่ดี
18. วินัยประการที่ 5 : การคิดอย่างเป็นระบบ (SYSTEMMATIC THINKING) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ (PETER M. SENGE’S) เป็นวินัยที่มีความสาคัญมากที่สุด ที่ในความเป็น จริง ผู้คน บุคลากร ผู้บริหารหลายคนไม่สามารถ ฝึกฝนตนเองให้มีความสามารถคิดได้อย่างเป็นระบบ อย่างเท่าทันการณ์ หรือคิดได้ล่วงหน้า ผลก็คือทาให้ เกิดปัญหาในการปฏิบัติงานในการบริหารมากมาย ลักษณะของการคิดอย่างเป็นระบบที่ดี ได้แก่ 1. คิดเป็นกลยุทธ์ ชัดเจนในเป้าหมาย มีแนวทางที่ หลากหลาย แน่วแน่ในเป้าหมาย มีวิสัยทัศน์ 2. คิดทันการ ไม่ช้าเกินการณ์ มองให้เห็นความจริง บางที ชิงปฏิบัติก่อนปัญหาจะเกิด 3. เล็งเห็นโอกาส ในทุกปัญหามีโอกาส ไม่ย่อท้อ สร้าง ประโยชน์ มองให้ได้ประโยชน์
19. ทฤษฎีการ์วิน (GARVIN) การถ่ายโอนความรู้ ตลอดถึงมีการนาไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสะท้อนให้เกิดความรู้และความเข้าใจใหม่ ที่ใช้กับ องค์กร มีขั้นตอน 5 คือ 1. การแก้ปัญหาอย่างมีระบบ 2. การทดลองใช้วิธีการใหม่ ๆ 3. การเรียนรู้จากประสบการณ์ของตนและเรื่องในอดีต 4. การเรียนรู้จากประสบการณ์และวิธีการที่ดีที่สุดของผู้อื่น 5. การถ่ายทอดความรู้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
20. ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ มาควอส (MARQUARDT) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ มาควอส (Marquardt) องค์การแห่งการเรียนรู้ ( LearningOrganization) ตามแนวคิดของ Marquardt 1. องค์การ (Organization) ระบบของ องค์การต้องมีการวางรากฐานไว้เพื่อสร้าง องค์การแห่งการเรียนรู้ 2. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์การ (People) องค์การ หนึ่งๆต่างมีผู้เกี่ยวข้อง หลายฝ่ายทั้งภายใน องค์การเองเช่น ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นาและ มีทักษะ ทางด้านการบริหาร 3. เทคโนโลยี (Technology) การมีเครื่องมือหรือ เทคโนโลยีที่ทันสมัยถือ เป็นสิ่งอานวยความ สะดวกที่ช่วยให้การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ มีความสะดวกมากยิ่งขึ้น โดยประเภทของ เทคโนโลยีที่ช่วยในการสร้างองค์การแห่ง การ เรียนรู้มี 2 ประเภทคือ เทคโนโลยีสาหรับการ บริหารจัดการความรู้ (Manage knowledge)และ เทคโนโลยีที่ใช้ในการเพิ่มพูนความรู้ (Enhance learning) 4. ความรู้ (Knowledge) ความรู้ที่มีใน องค์การจาเป็นอย่างยิ่งต้องมีการ บริหารจัดการ อย่างเป็ นระบบทั้งนี้ เพื่อนามาใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อ องค์การ 5. การเรียนรู้ (Learning) การเรียนรู้ถือเป็นระบบหลักที่เป็นแกนสาคัญ ของการ สร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ซึ่งสามารถจาแนกการเรียนรู้ได้ 3-ระดับ คือ-ระดับบุคคล- ระดับกลุ่ม-และระดับองค์การ

1 ความคิดเห็น: