ทฤษฎีการจัดการความรู้ของมาควอส (Marquardt)

ทฤษฎีการจัดการความรู้ของมาควอส (Marquardt)

โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
1. โมเดลและทฤษฎีที่สาคัญเกี่ยว กับการจัดการความรู้ (KM)
2. ผู้จัดทา นายกมลภพ จันทวิโรจน์ รหัสนักศึกษา 5942040001 นางสาวศศิฉาย ศรีเทพ รหัสนักศึกษา 5942040014 เทคโนโลยีสาหรับการจัดการความรู้เป็นวิชาส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ปีการศึกษา 2560
3. 1.ปิรามิดแห่งความรู้ของ Yamazaki
4. 1.ปิรามิดแห่งความรู้ของ Yamazaki Yamazaki ได้ทาการศีกษาวิจิยเกี่ยวกับลักษณะของความรู้แล้ว พบว่าความรู้มีลักษณะคล้ายปิรามิด ปิรามิดแห่งความรู้จะแบ่ง ลักษณะของความรู้ออกเป็น 4 ประเภท เรียงลาดับจากฐาน ปิรามิดไปสู่ยอดซึ่งความรู้แต่ละประเภท จะมีลักษณะ แตกต่างกันแต่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับความรู้ลักษณะ คล้ายปีรามิด
5. ปิรามิดแห่งความรู้ของ Yamazaki • 1. ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือสิ่งที่เกิดขึ้น ซึ่งยังเป็นข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการประมวลผลใด เช่น ตัวเลข ตัวหนังสือ ข้อเท็จจริง รูปภาพที่สื่อความหมาย ได้แก่ จานวนนักศึกษา จานวน คะแนนนักศึกษาแต่ละคน จานวนรายวิชาที่เรียน • 2. สารสนเทศ (Information) สารสนเทศคือข้อมูลที่ผ่านการประมวลแล้ว การประมวลผลเป็นวิธีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลเป็นสารสนเทศด้วยการเพิ่มมูลค่า ให้กับข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ
6. ปิรามิดแห่งความรู้ของ Yamazaki 3. ความรู้ (Knowledge) ความรู้ มีหลายนัยและหลายมิติ คือ - ความรู้ คือสิ่งที่นาไปใช้จะไม่หมด หรือสึกหรอ แต่จะยิ่งงอกเงย หรืองอกงามขึ้น - ความรู้คือสารสนเทศที่จะนาไปสู่การปฏิบัติ 4. ภูมิปัญญา (wisdom) ภูมิปัญญา เป็นความรู้ที่มีอยู่ในตัวคน นามาประยุกต์ใช้ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการทางานให้เกิดประโยชน์ บางครั้งเรียกว่า ปัญญาปฏิบัติ จากภูมิปัญญาได้มีการยกระดับให้กลายเป็น นวัตกรรม (Innovation) หรือ นวัตกรรมแห่งความสาเร็จ
7. 2.ภูเขาน้าแข็งแห่งความรู้ ของ Nonaka
8. 2.ภูเขาน้าแข็งแห่งความรู้ ของ Nonaka • Nonaka ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับธรรมชาติของความรู้ คืออะไร และเกิดขึ้นได้อย่างไร พบว่าความรู้ที่มีลักษณะที่ความแตกต่าง จากปีรามิดแห่งความรู้ของ Yamazaki โดย nonaka ได้เปรียบเทียบความรู้กับรูป ภูเขาน้าแข็งซึ่งจาแนกความรู้ออกเป็น 2 ประเภท
9. ภูเขาน้าแข็งแห่งความรู้ ของ Nonaka 1. ส่วนของยอดภูเขาน้าแข็งที่ลอยอยู่เหนือน้า Explicit Knowledge เป็นความรู้ที่จะเห็นได้ง่าย คล้ายกับส่วนยอดของภูเขาน้าแข็งที่อยู่พ้นน้า 2. ส่วนภูเขาน้าแข็งที่จมอยู่ใต้น้า ไม่สามารถ มองเห็นได้เรียกว่า Tacit Knowledge เป็นความรู้ แฝงอยู่ในตัวคน ทาให้มองไม่เห็น (ที่อยู่ในตัวตน)
10. ภูเขาน้าแข็งแห่งความรู้ ของ Nonaka สัดส่วนของความรู้บนภูเขาน้าแข็ง เมื่อพิจารณาถึงสัดส่วนของความรู้ทั้ง 2 ประเภท พบว่า ความรู้ในองค์กรที่เป็น Explicit และ Tacit เป็นและมีอัตราส่วน 20:80 คล้ายกับ ภูเขาน้าแข็งที่มียอดภูเขาโผล่พ้นน้าขึ้นมา เป็น ส่วนน้อยประมาณ 20% ของทั้งหมดเมื่อ เปรียบเทียบกับส่วนของภูเขาน้าแข็งที่จมอยู่ใต้ น้าซึ่งมีมากประมาณ 80% ของทั้งหมด
11. ภูเขาน้าแข็งแห่งความรู้ ของ Nonaka ปัญหาของการจัดการความรู้ในลักษณะนี้ เกิดจากสาเหตุ 3 ประการคือ ถูกบังคับ หวงวิชาและภาษาเป็นอุปสรรคในการถ่ายทอดความรู้ -ทาให้ความรู้ที่ได้ขาดความสมบูรณ์อาจจะลดลงเหลือเพียง 20-30% ของความรู้ทั้งหมดที่มีอยู่ ไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้ อย่างเต็มที
12. 3.การจัดการความรู้โดยใช้ปลาทูโมเดล Tuna Model ของ คร.ประพันธ์ ผาสุขยืด
13. ปลาทูโมเดล Tuna Model ของ คร.ประพันธ์ ผาสุขยืด
14. การจัดการความรู้โดยใช้ปลาทูโมเดล เป็นแนวคิดของ ดร. ประพันธ์ ผาสุกยืด จากสถาบันจุ๊งการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคศ) โดย เปรียบเทียบองค์ประกอบหลักของการจัดการความรู้กับปลาซึ่งมี องค์ประกอบ 3 ส่วนคือ ปลาทูโมเดล Tuna Model ของ คร.ประพันธ์ ผาสุขยืด
15. 1. ส่วนหัวปลาเปรียบได้กับ Knowledge Vision :KV หมายถึงส่วนที่เป็น วิสัยทัศน์หรือทิศทางของการจัดการความรู้ก็ลงมือทา จะต้องกาหนดวิสัยทัศน์ว่าจะทาอะไรและมุ่งหน้าไป ทางไหนมีบางหน่วยงานทา km โดยไม่มีการ กาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์ว่าจะทาอะไรแต่ทาตัว ต้องการจะไปให้หน่วยงานอื่นเห็นว่ารวยงานของตน เป็นองค์กรสมัยใหม่ที่มีการทา km แล้ว ปลาทูโมเดล Tuna Model ของ คร.ประพันธ์ ผาสุขยืด
16. 2. ส่วนกลางลาตัวหมายถึงส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งเป็นส่วนที่สาคัญที่สุดและ ยากที่สุดในกระบวนการทา km เพราะจะต้อง สร้างวัฒนธรรม องค์กรให้คนนิยมพร้อม ใจ ที่จะแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกันโดยไม่หวงวิชา ซึ่งมีเครื่องมือในการทา km อย่าง ง่ายๆ เช่น - การเล่าเรื่อความสาเร็จ Storytrlling -ชุมชนนักปฎิบัติ CoP:Community of practice -KM Cafe. ปลาทูโมเดล Tuna Model ของ คร.ประพันธ์ ผาสุขยืด
17. 3 . ส่วนที่เป็นหางปลาเปรียบเทียบได้กับคลังความรู้ หรือฐานความรู้ขององค์กรรวบรวม ความรู้ต่างๆ ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มา จัดระบบให้เป็นหมวดหมู่เพื่อสะดวกแก่การนามาใช้ ในการทางานเพื่อสะดวกในการเรียกใช้และปรับแต่ง ความรู้ ให้ทันสมัยอยู่เสมอรวมทั้งมีการกาจัดความรู้ ที่ไม่ใช้แล้ว เพื่อให้คลังความรู้ ไม่ใหญ่เกินไปมีเฉพาะ ข้อมูลที่จาเป็นเท่านั้น ปลาทูโมเดล Tuna Model ของ คร.ประพันธ์ ผาสุขยืด
18. 4. KM Model : สคศ
19. 4. KM Model : สคศ
20. ตามแนวคิดของ สคศ.(วิจารณ์ พาณิช) การจัดการความรู้ คือ เครื่องมือโดยที่มี เป้าหมายอยู่ที่งานคนและองค์กรเป็นเงือนไขสาคัญ ไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ สคส. สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท - ความรู้ชัดแจ้ง Explicit Knowledge - ความรู้แฝงเร้น Tacit Knowledge ความรู้ชัดแจ้งคือความรู้ที่เขียนอธิบายออกมาเป็นตัวอักษร เช่น คู่มือปฏิบัติงาน หนังสือ ตารา ส่วนความรู้แฝงเร้นคือความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน ไม่ได้ถอดออกมาเป็นลาย ลักษณ์อักษร หรือบางครั้งก็ไม่สามารถถอดเป็นลายลักษณ์อักษรได้ ความรู้ที่สาคัญส่วน ใหญ่ มีลักษณะเป็นความรู้แฝงเร้น อยู่ในคนทางาน และผู้เชี่ยวชาญในแต่ละเรื่อง จึงต้อง อาศัยกลไกแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้คนได้พบกัน สร้างความไว้วางใจกัน และถ่ายทอดความรู้ ระหว่างกันและกัน 4. KM Model : สคศ
21. 5. KM: Process (Knowledge Management Process)
22. KM: Process 2. ารสร้างแล แสวง าความรู้ Knowledge Creation and Acquisition) 3. าร ัดความรู้ ้เป็นร บบ (Knowledge Organization) 4. ารปร มวลแล ลัน รองความรู้ Knowledge Codification and Refinement) 5. ารเข้า งความรู้ (Knowledge Access) 6. ารแบ่งปันแล เปลยนความรู้ (Knowledge Sharing) 7. ารเรยนรู้ (Learning) 1. ารบ่ง ้ความรู้ Knowledge Identification) กระบวนการจัดการความรู้ Knowledge Management Process
23. กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะช่วยให้องค์กรเข้าใจถึงขั้นตอนที่ทาให้เกิด กระบวนการจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายใน องค์กร ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การบ่งชี้ความรู้ เช่นพิจารณาว่า วิสัยทัศน์/ พันธกิจ/ เป้าหมาย คืออะไร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เราจาเป็นต้องรู้อะไร , ขณะนี้เรามีความรู้ อะไรบ้าง, อยู่ในรูปแบบใด, อยู่ที่ใคร KM: Process
24. 3. การสร้างและแสวงหาความรู้ เช่นการสร้างความรู้ใหม่, แสวงหาความรู้จากภายนอก, รักษาความรู้เก่า, กาจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว 4. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อ เตรียมพร้อมสาหรับการเก็บความรู้ อย่างเป็นระบบในอนาคต 5. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่นปรับปรุงรูปแบบเอกสาร ให้เป็นมาตรฐาน, ใช้ภาษาเดียวกัน, ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์ 6.การเข้าถึงความรู้ เป็นการทาให้ผู้ใช้ความรู้นั้นเข้าถึงความรู้ที่ ต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT), Web board ,บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น KM: Process
25. KM: Process 7.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ทาได้หลายวิธีการ โดยกรณีเป็น Explicit Knowledge อาจจัดทาเป็น เอกสาร, ฐานความรู้, เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือกรณีเป็น Tacit Knowledge อาจจัดทาเป็นระบบ ทีมข้าม สายงาน, กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม, ชุมชนแห่งการเรียนรู้, ระบบพี่ เลี้ยง, การสับเปลี่ยนงาน, การยืมตัว, เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น 8.การเรียนรู้ ควรทาให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่นเกิด ระบบการเรียนรู้จาก สร้างองค์ความรู้>นาความรู้ไปใช้>เกิดการเรียนรู้และ ประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง
26. กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง(Change Management Process) KM: Process ร บวน าร แล เครองมอ (Process & Tools) ารเรยนรู้ (Learning) ารสอสาร (Communication) ารวัดผล (Measurements) ารย ย่อง มเ ย แล าร ้รางวัล (Recognition and Reward) เป้ า มาย (Desired State) ารเ รยม ารแล ปรับเปลยน ฤ รรม (Transition and BehaviorRobert Osterhoff
27. 6. SECI Model
28. SECI Model โมเดลเซกิ (SECI Model) ถูกเสนอโดย โนนากะ กับ ทาเคอุชิ (Nonaka และ Takeuchi,1995) คือ แผนภาพแสดงความสัมพันธ์การหลอม รวมความรู้ในองค์กรระหว่างความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) กับความรู้ชัด แจ้ง (Explicit Knowledge) ใน 4 กระบวนการ เพื่อยกระดับความรู้ให้สูงขึ้น อย่างต่อเนื่องเป็นวัฎจักรเริ่มจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Socialization) การ สกัดความรู้ออกจากตัวคน (Externalization) การควบรวมความรู้ (Combination) และการผนึกฝังความรู้ (Internalization) และวนกลับมา เริ่มต้นทาซ้าที่กระบวนการแรก เพื่อพัฒนาการจัดการความรู้ให้เป็นงาน ประจาที่ยั่งยืน
29. ตัวอย่างการทา SECI Model SECI Model
30. • 1.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Socialization) S : Tacit to Tacit กระบวนการที่ อธิบายความสัมพันธ์ทางสังคมในการส่งต่อระหว่างความรู้ฝังลึก (Tacit knowledge) ด้วยกัน เป็นการแบ่งปันประสบการณ์แบบเผชิญหน้าระหว่างผู้รู้ เช่น การประชุม การระดมสมอง ที่มาจากความรู้ การเรียนรู้ และประสบการณ์ ของแต่ละบุคคล เฉพาะเรื่อง เฉพาะพื้นที่ แล้วนามาแบ่งปัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในสภาพแวดล้อมเดียวกันที่มิใช่เป็นเพียงการอ่านหนังสือ คู่มือ หรือตารา SECI Model
31. SECI Model 2.การสกัดความรู้ออกจากตัวคน E : Tacit to Explicit กระบวนการที่ 2 อธิบายความสัมพันธ์ กับภายนอกในการส่งต่อระหว่างความรู้ฝังลึก (Tacit knowledge) กับความรู้ชัดแจ้ง (Explicit knowledge) 3.การควบรวมความรู้ (Combination) C : Explicit to Explicit กระบวนการที่ 3 อธิบาย ความสัมพันธ์การรวมกันของความรู้ชัดแจ้ง (Explicit knowledge) ที่ผ่านการจัดระบบ และบูรณาการความรู้ที่ต่างรูปแบบเข้าด้วยกัน
32. 4.การผนึกฝังความรู้ (Internalization) I : Explicit to Tacit กระบวนการที่ 4 อธิบายความสัมพันธ์ภายในที่มีการส่งต่อความรู้ชัดแจ้ง (Explicit knowledge) สู่ความรู้ฝังลึก (Tacit knowledge) แล้วมีการนาไปใช้ในระดับบุคคล ครอบคลุม การเรียนรู้และลงมือทา ซึ่งความรู้ชัดแจ้งถูกเปลี่ยนเป็นความรู้ฝังลึกในระดับ บุคคลแล้วกลายเป็นทรัพย์สินขององค์กร
33.  7. ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ Peter M. Senge's
34. ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ Peter M. Senge's แนวทาง 5 ประการในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้(TheFive Disciplines) 1.การเรียนรู้ของสมาชิกในองค์กร (Personal Mastery) คือ ลักษณะการเรียนรู้ของคนในองค์การซึ่งจะสะท้อนให้ เห็นถึงการเรียนรู้ขององค์การได้สมาชิกขององค์การที่เป็น องค์การแห่งการเรียนรู้นั้น จะมีลักษณะสนใจและใฝ่หาที่ จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอมีความปรารถนาที่จะเรียนรู้ เพื่อเพิ่ม ศักยภาพ ของตน มุ่งสู่จุดหมาย และความสาเร็จที่ได้กาหนดไว้
35. 2.ความมีสติ (Mental Model) คือ แบบแผนทาง จิตสานึกของคนในองค์การซึ่งจะต้องสะท้อนถึง พฤติกรรมของคนในองค์การองค์การแห่งการเรียนรู้จะ เกิดขึ้นได้เมื่อ สมาชิกในองค์การมีแบบแผนทาง จิตสานึกหรือความมีสติที่เอื้อต่อการสะท้อนภาพที่ ถูกต้องชัดเจน และมีการจาแนกแยกแยะโดยมุ่งหวังที่ จะปรับปรุงความถูกต้อง ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ Peter M. Senge's
36. 3.การมีวิสัยทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ (Shared Vision) คือ การมีวิสัยทัศน์ร่วมกันของคนทั้งองค์การองค์การ แห่งการเรียนรู้จะต้องเป็นองค์การที่สมาชิกทุกคนได้รับการ พัฒนาวิสัยทัศน์ของตนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์รวมของ องค์การซึ่งจะสนับสนุนให้เกิดการรวมพลังของสมาชิกที่มี ความคาดหวังต่อความเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าต่อไป ภายใต้จุดมุ่งหมายเดียวกันของคนทั้งองค์การ ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ Peter M. Senge's
37. 4.การเรียนรู้เป็นทีม ( Team Learning ) คือ การ เรียนรู้ร่วมกันของสมาชิกในองค์การโดยอาศัยความรู้และ ความคิดของมวลสมาชิกในการแลกเปลี่ยน และพัฒนา ความฉลาดรอบรู้และความสามารถของทีมให้บังเกิดผล ยิ่งขึ้น เรียกว่า การอาศัยความสามารถของสมาชิกแต่ละ บุคคล องค์การแห่งการเรียนรู้จะเกิดได้เมื่อมีการรวมพลัง ของกลุ่มต่าง ๆ ภายในองค์การเป็นการรวมตัวของทีมงาน ที่มีประสิทธิภาพ ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ Peter M. Senge's
385.ระบบการคิดของคนในองค์การ (Systems Thinking) คือ กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ เป็น กระบวนการในการหาความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นเห็นแบบแผน เห็นขั้นตอนของการพัฒนา คือ เห็น ทั้งป่า และเห็นต้นไม้แต่ละต้นด้วย (See Wholes instead of part, See the forest and the trees) ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ Peter M. Senge's
39. • 8. ทฤษฎี Garvin
40. ทฤษฎี Garvin Garvin (Building a Leaning Organization, 1993) ได้นาเสนอหลัก 5 ประการในการพัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ได้แก่ 1. การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (Systematic problem solving) 2. การทดลองทาสิ่งต่างๆ ด้วยวิธีการใหม่ (Experimentation with new approaches) 3. การเรียนรู้จากประสบการณ์และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต (Learning from their own experiences and past history)
41. 4. การเรียนรู้จากบุคคลอื่น (Learning from the experiences and best practices of others) 5. การถ่ายโอนความรู้ทั่วทั้งองค์กรได้อย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ (Transferring knowledge quickly and efficiently throughout the organization)
42. • 9. ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ มาควอส (Marquardt)
43. ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ มาควอส (Marquardt) องค์การแห่งการเรียนรู้ ( Learning Organization) ตามแนวคิดของ Marquardt 1. องค์การ (Organization) ระบบขององค์การต้องมีการวางรากฐาน ไว้เพื่อสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ซึ่ง ประกอบด้วยปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบที่ สาคัญ ได้แก่ วิสัยทัศน์(Vision) ซึ่งเป็นเสมือนเข็มทิศนาองค์การไปยัง เป้าหมายที่พึงประสงค์ กลยุทธ์ (Strategy) เป็นวิธีการที่จะทาให้ไปถึงยัง เป้าหมายตามวิสัยทัศน์ โครงสร้างองค์การ (Structure) เป็นปัจจัยสนับสนุนให้ มีการทาหน้าที่ในทุกภาคส่วนอย่างเหมาะสม
44. 2. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์การ (People) องค์การหนึ่งๆต่างมีผู้เกี่ยวข้อง หลายฝ่ายทั้งภายในองค์การเองเช่น ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นาและมีทักษะ ทางด้านการบริหาร เช่นการสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยง และที่สาคัญต้องเป็น แบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา พนักงานระดับปฏิบัติต้องมีนิสัยใฝ่รู้ และ พัฒนาศักยภาพของตนเองอยู่เสมอ ลูกค้าที่ใช้บริการก็ต้องมีการให้ข้อมูล ย้อนกลับในด้านของความต้องการแก่องค์การเช่นเดียวกับพันธมิตรทางธุรกิจ ที่ต้องให้ความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกัน ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ มาควอส (Marquardt)
45. 3. เทคโนโลยี (Technology) การมีเครื่องมือหรือเทคโนโลยีที่ทันสมัยถือ เป็นสิ่งอานวยความสะดวกที่ช่วยให้การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้มีความ สะดวกมากยิ่งขึ้น โดยประเภทของเทคโนโลยีที่ช่วยในการสร้างองค์การแห่ง การเรียนรู้มี 2 ประเภทคือ เทคโนโลยีสาหรับการบริหารจัดการความรู้ (Manage knowledge) คือการใช้เพื่อการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนความรู้แก่ กัน ประเภทที่สองคือเทคโนโลยีที่ใช้ในการเพิ่มพูนความรู้ (Enhance learning) คือการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ในการสร้างการเรียนรู้แก่ผู้เรียนได้อย่าง สะดวกมากขึ้น เช่นComputer-based training E-Learning Web-based learning ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ มาควอส (Marquardt)
46. 4. ความรู้ (Knowledge) ความรู้ที่มีในองค์การจาเป็นอย่างยิ่งต้องมีการ บริหารจัดการอย่างเป็นระบบทั้งนี้เพื่อนามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ องค์การ โดยกระบวนการให้การจัดการความรู้(Knowledge management) มีกระบวนการเริ่มตั้งแต่การระบุความรู้ที่จาเป็นต่อองค์การ การเสาะแสวงหา หรือสร้างความรู้ขึ้นมาใหม่ การจัดเก็บความรู้ การแบ่งบันความรู้ และการนา ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการทางาน ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ มาควอส (Marquardt)
47. 5. การเรียนรู้ (Learning) การเรียนรู้ถือเป็นระบบหลักที่เป็นแกนสาคัญ ของการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ซึ่งสามารถจาแนกการเรียนรู้ได้ 3-ระดับ คือ-ระดับบุคคล-ระดับกลุ่ม-และระดับองค์การ ซึ่งในแต่ละระดับของการ เรียนรู้นั้นต้องเริ่มที่ทักษะของตัวบุคลากรแต่ละคนซึ่งต้องมี 5 ประการเพื่อ สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทฤษฎีการจัดการความรู้ของ มาควอส (Marquardt)


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น